[109] วิเวก 3 (ความสงัด, ความปลีกออก — seclusion) 1. กายวิเวก (ความสงัดกาย ได้แก่ อยู่ในที่สงัดก็ดี ดำรงอิริยาบถและเที่ยวไปผู้เดียวก็ดี - bodily seclusion; i.e.solitude) 2. จิตตวิเวก (ความสงัดใจ ได้แก่ทำจิตให้สงบผ่องใส สงัดจากนิวรณ์ สังโยชน์ และอนุสัย เป็นต้น หมายเอาจิตแห่งท่านผู้บรรลุฌาน และอริยมรรค อริยผล - mental seclusion, i.e. the state of Jhana and the Noble Paths and Fruitions) 3. อุปธิวิเวก (ความสงัดอุปธิ ได้แก่ธรรมเป็นที่สงบระงับสังขารทั้งปวง ปราศจากกิเลสก็ดี ขันธ์ก็ดี อภิสังขารก็ดี ที่เรียกว่าอุปธิ หมายเอาพระนิพพาน - seclusion from the essentials of existence, i.e. Nibbana)
|
พระคัมภีร์เทพ ธมฺมิโก พระวิปัสสนาจารย์ วิ ๑๐. มจร.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม ๐๙๕-๕๙๖-๙๔๔๘
หน้าแรก
- หน้าแรก
- พระพุทธเจ้า มหาศาสดาโลก
- ปฏิทินการปฏิบัติธรรม
- 200ปีชาตกาลหลวงปู่เอี่ยม
- หลวงปู่เอี่ยม
- หลวงปู่กลิ่น
- หลวงปู่ทองสุข
- หลวงพ่อสอน
- พระครูอมรศุภการ
- พระไตรปิกฏ
- สติปัฏฐาน๔
- ติตด่อ
- บำเพ็ญกุศล
- ค่ายพุทธบุตร
- บริจาคกองทุนการศึกษาผ้าป่าปี 2560
- บริจาคพระภิกษุสงฆ์ อาพาธ (ค่ารักษาพยายบาล)
- หนังสือธรรมะ PDF
- เสียงอ่านพระไตรปิกฏ เล่มที่ ๑
- อานิสงส์ในการทำบุญต่างๆ
- บรรลุธรรมในชาตินี้
- VDO ค่ายธรรมะ
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ปฏิบัติธรรมวันพระ 23 ก.ค. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น